การนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ในงาน MWIT Open House 2023

หนึ่งในกิจกรรมที่จัดขึ้นในงาน MWIT Open House 2023 เมื่อวันที่ 25-26 สิงหาคม พ.ศ. 2566 ที่ผ่านมา และสร้างแรงบันดาลใจในการทำวิจัยให้กับผู้ร่วมงานไปไม่น้อย นั่นก็คือ การนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้น ม.6  ทั้งการนำเสนอภาคโปสเตอร์และภาคบรรยาย  ซึ่งฝีมือการนำเสนอและการตอบคำถาม รวมถึงสามารถสื่อสารได้อย่างชัดเจน ทำให้หลายโครงงานได้รับรางวัลจากการนำเสนอในครั้งนี้

รางวัลโครงงานที่ได้คะแนนสูงสุด 2 อันดับแรกของการนำเสนอในแต่ละห้อง ตัดสินโดยคณะกรรมการฯ

ห้องสาขาคณิตศาสตร์และวิทยาการคำนวณ และสาขาศิลปะศาสตร์ (ห้องที่ 1) ได้แก่

  • โครงงานเรื่อง “แอปพลิเคชันวินิจฉัยโรคพาร์กินสันเบื้องต้นจากลักษณะการสั่นของมือ” ของ นางสาวบุณยวีร์ วิริยวงวานศ์ นักเรียนชั้น ม.6/4 และ นางสาวนัสวรรณ รุ่งฤทธิเดช นักเรียนชั้น ม.6/5
  • โครงงานเรื่อง “Thai Traditional Music Composition using Long Short- Term Memory Network” ของ นายภาคิน ตีรวัฒนประภา นักเรียนชั้น ม.6/6  นายพีรพัฒน์ เหล่าวีระธรรม นักเรียนชั้น ม.6/6 และ นายปณิธิ โลภาส นักเรียนชั้น ม.6/2

ห้องสาขาคณิตศาสตร์และวิทยาการคำนวณ และสาขาศิลปะศาสตร์ (ห้องที่ 2) ได้แก่

  • โครงงานเรื่อง “โครงงานบอทตัวละครสำหรับพูดคุยและทดสอบภาวะโรคซึมเศร้า” ของ นางสาวศิริภัสสร รักษสุธากาญจน์ นักเรียนชั้น ม.6/4 และ นางสาวอรกัญญา สมรมิตร นักเรียนชั้น ม.6/4
  • โครงงานเรื่อง “การศึกษาและพัฒนาระบบตรวจจับคน ล้มโดยใช้แบบจําลองโครงร่างสามมิติและ การเรียนรู้ของเครื่อง” ของ นายสุภวัฒก รัตนเมกุล นักเรียนชั้น ม.6/3  นายอิทธิกร หลีกภัย นักเรียนชั้น ม.6/3 และ นายฉัทปนัย ชาวคอนไชย นักเรียนชั้น ม.6/3

ห้องสาขาชีววิทยาและวิทยาศาสตร์สุขภาพ (ห้องที่ 1) ได้แก่

  • โครงงานเรื่อง “Development of bioplastic packaging containing Caesalpinia Sappan heartwood extracts for inhibiting Escherichia coli causing of spoilage in pork jerky” ของ นายนันทพัทธ์ พิทยาวงศ์อานนท์ นักเรียนชั้น ม.6/4 และ นายสิริดนย์ รังษีหิรัญรัตน์ นักเรียนชั้น ม.6/4
  • โครงงานเรื่อง “ฤทธิ์ต้านเชื้อก่อสิว Staphylococcus aureus และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วย แผ่นแปะสิวจากเปลือกทุเรียน” ของ นางสาวธนัชพร เชยบัวแก้ว นักเรียนชั้น ม.6/6  นางสาวปราวีณา พรมสี่หน้า นักเรียนชั้น ม.6/6 และ นางสาวอันนา แสงแก้ว นักเรียนชั้น ม. 6/6

ห้องสาขาชีววิทยาและวิทยาศาสตร์สุขภาพ (ห้องที่ 2) ได้แก่

  • โครงงานเรื่อง “การประดิษฐ์แผ่นฝึกเย็บแผลจากยางพารา” ของ นางสาวกมลชนก บุญเลิศวรกุล นักเรียนชั้น ม.6/8  นางสาวธัญธิตา ปานเนาว์ นักเรียนชั้น ม.6/8 และ นางสาวนิชนิภา สาธิตธรรมพร นักเรียนชั้น ม.6/8
  • โครงงานเรื่อง “การเปรียบเทียบโมเดลเรียนรู้เชิงลึก สำหรับตรวจจับยูกลีนอยด์สกุล Euglena, Phacus, Trachelomonas, Lepocinclis และ Strombomonas เพื่อเป็นต้นแบบของโปรแกรมประเมินคุณภาพน้ำด้วยการตรวจจับแพลงก์ตอนพืชในแหล่งน้ำ” ของ นายกันต์ธร ไข่มุกข์ นักเรียนชั้น ม.6/3  นายจิรวัฒน์ อมรโอภาสเสถียร นักเรียนชั้น ม.6/10 และ นายรวิทย์ ผ่านภูวงษ์ นักเรียนชั้น ม.6/10

ห้องสาขาชีววิทยาและวิทยาศาสตร์สุขภาพ (ห้องที่ 3) ได้แก่

  • โครงงานเรื่อง “ประสิทธิภาพของไคโตซานและกัวร์กัม ต่อการยืดอายุการเก็บรักษาเห็ดแชมปิญอง (Agaricus bisporus)” ของ นางสาวณิชารีย์ ชัยสัมฤทธิ์ผล นักเรียนชั้น ม.6/3  นางสาวอนัญญา ไชยนพกุล นักเรียนชั้น ม.6/5 และ นางสาวณัชชา ชัยสัมฤทธิ์ผล นักเรียนชั้น ม.6/6
  • โครงงานเรื่อง “การพัฒนาแบบจำลองเพื่อทำนายการ สุกของมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้สีทองจากความถ่วงจำเพาะของผลมะม่วง” ของ นางสาวณัฐฐิรา อุดมสิทธิพันธุ์ นักเรียนชั้น ม.6/9 นางสาวนัทธมน ภควัตมงคล นักเรียนชั้น ม.6/9 และ นายธีร์ธวัช นิลละออ นักเรียนชั้น ม.6/9

ห้องสาขาเคมี (ห้องที่ 1) ได้แก่

  • โครงงานเรื่อง “การผลิตกรดซักซินิกโดยปฏิกิริยา ออกซิเดชันของเฟอร์ฟูรัลด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ในเครื่องปฏิกรณ์แบบเบดคงที่บรรจุด้วยเรซินแลกเปลี่ยนไอออนบวก” ของ นายอภิวิชญ์ บุญคง นักเรียนชั้น ม.6/10 และ นางสาวอาริสา จันต๊ะหล้า นักเรียนชั้น ม.6/10
  • โครงงานเรื่อง “การพัฒนาผลิตภัณฑ์เจลลีอ้ายอวี้สูตร สมุนไพรเพื่อเป็นอาหารเสริมสำหรับผู้สูงอายุ” ของ นายปณิธาน วีระโอฬารกุล นักเรียนชั้น ม.6/2 และ นายปรินทร์วริศร์ ปังประเสริฐกุล นักเรียนชั้น ม.6/2

ห้องสาขาเคมี (ห้องที่ 2) ได้แก่

  • โครงงานเรื่อง “ถ่านกัมมันต์ที่มีคุณสมบัติความเป็น แม่เหล็กจากเปลือกทุเรียน เพื่อการดูด ซับโลหะหนักในน้ำเสียอย่างมีประสิทธิภาพ” ของ นายทยากร ตั้งศรีวงศ์ นักเรียนชั้น ม.6/1 นายธาวิน เลาหะพงษ์พันธ์ นักเรียนชั้น ม.6/1 และ นายศุภวิชญ์ จิระเดชะ นักเรียนชั้น ม.6/1
  • โครงงานเรื่อง “การพัฒนาเซนเซอร์ชนิดการไหลในแนว ระนาบสำหรับตรวจโรคไวรัสตับอักเสบบีจากน้ำลาย” ของ นายกริชเพชร โคตรหลักคำ นักเรียนชั้น ม.6/8 และ นายณัฐชานนท์ รองเดช นักเรียนชั้น ม.6/2

ห้องสาขาเคมี (ห้องที่ 3) ได้แก่

  • โครงงานเรื่อง “การพัฒนาแชมพูที่มีส่วนผสมของ สารประกอบฟีนอลิกจากผลมะม่วงหิมพานต์เพื่อชะลอผมขาว” ของ นางสาวพาขวัญ บุญประกายแก้ว นักเรียนชั้น ม.6/5 นางสาวปภาดา เจริญสิทธิ์ นักเรียนชั้น ม.6/5 และนางสาวบัว จันทรังสิกุล นักเรียนชั้น ม.6/5
  • โครงงานเรื่อง “การเพิ่มประสิทธิภาพของตัวเร่ง ปฏิกิริยาเซิงแสงนาโนซิงค์ออกไซด์ที่ เคลือบบนวัสดุยึดเกาะประเภทแก้วโดยใช้การปรับสภาพพื้นผิวด้วยพลาสมา” ของ นางสาวเปมิกา ณ ระนอง นักเรียนชั้น ม.6/2  นางสาวยุทธิดา แสงศรี นักเรียนชั้น ม.6/4 และ นายวาทิศ คงชาญแพทย์ นักเรียนชั้น ม.6/7

ห้องสาขาฟิสิกส์ (ห้องที่ 1) ได้แก่

  • โครงงานเรื่อง “แบบจำลองการเรียนรู้เชิงลึกสำหรับ การศึกษาอัตราการตรวจวัดอนุภาค แบบเรียลไทม์ในเครื่องตรวจจับอนุภาคชนิดคลาวด์แชมเบอร์ที่ประดิษฐ์ขึ้นเอง” ของ นายอนาวิล ศิลปศาสตร์ นักเรียนชั้น ม.6/10  นายธนัสภพ หลิมจานนท์ นักเรียนชั้น ม.6/10  และ นายภาณุพัฒน์ ศรีสุขวสุ นักเรียนชั้น ม.6/1
  • โครงงานเรื่อง “การใช้เทคนิค Machine Learning ใน การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตรวจหาอนุภาคฮิกส์นอกเหนือจากแบบจําลองมาตรฐาน” ของ นายธัญวิสิฏฐ์ สุธรรมเกษม นักเรียนชั้น ม.6/5 นายพัทธดล เพ่งพินิจ นักเรียนชั้น ม.6/5  และ นายอิทเศรษฐ์ อุปทินเกตุ นักเรียนชั้น ม.6/5

ห้องสาขาฟิสิกส์ (ห้องที่ 2) ได้แก่

  • โครงงานเรื่อง “การวินิจฉัยโรคทางการได้ยินโดยใช้ชุดคําศัพท์ Auditory Illusion” ของ นายรุจิภาส ธรรมวิโรจน์ศิริ นักเรียนชั้น ม.6/1 และ นายสุรมิศ บุญสม นักเรียนชั้น ม.6/3
  • โครงงานเรื่อง “ผลของสนามไฟฟ้าความถี่สูงต่อสมบัติ การระเหยของน้ำ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการรักษาความสดของผลไม้” ของ นางสาวเทียนกมล ทองคง นักเรียนชั้น ม.6/3 และ นางสาวไอริณรยา พิทักษ์วงษ์ นักเรียนชั้น ม.6/3

นอกจากนี้ ยังมีรางวัล Popular Vote ที่มาจากความประทับใจของผู้ร่วมงาน อีก 1 รางวัล ซึ่งได้รับคะแนนเท่ากันถึง 4 โครงงาน ได้แก่

  • โครงงานเรื่อง “การตรวจวิเคราะห์อย่างง่ายเพื่อหาชนิดและปริมาณของแอลกฮออล์ล้างมือด้วยสารสกัดจากลำต้นยอ (Morinda citrifolia Linn)” ของ นายพงศกร โลหะศิริวัฒน์ นักเรียนชั้น ม.6/6 นายจิรกิตติ์ จิระเจริญรัตน์ นักเรียนชั้น ม.6/7 และ นายพณิช กมลาพร นักเรียนชั้น ม.6/8
  • โครงงานเรื่อง “A Game-Changing Idea for Rapid Cancer Screening: Detection of Circulating Tumor DNA on the Surface of Red Blood Cells” ของ นายวงศกร มาลาลักษมี นักเรียนชั้น ม.6/5  นางสาวชุตินันต์ สุขพงศ์จิรากุล นักเรียนชั้น ม.6/5 และ นางสาวมทินา บุญเต็ม นักเรียนชั้น ม.6/5
  • โครงงานเรื่อง “การสังเคราะห์ฟิล์มเคลือบยืดอายุกล้วยจากกากมะพร้าว” ของ นายทรงฤทธิ์ ทรัพย์เย็น นักเรียนชั้น ม.6/8
  • โครงงานเรื่อง “ระบบแจ้งเตือนการใช้กล้ามเนื้อคอส่วน Upper Trapezius มากเกินไป เพื่อป้องกันโรค กล้ามเนื้อคอหดเกร็งโดยใช้เซ็นเซอร์วัดคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อที่พัฒนาขึ้นเอง” ของ นายฟ้าสรรค์ เชื้อผู้ดี นักเรียนชั้น ม.6/8  นายณัฐวัฒน์ ขาวสะอาด นักเรียนชั้น ม.6/4 และ นายกัณฐกะ ณรงค์การดี นักเรียนชั้น ม.6/8

We uses cookies to improve the functionality, performance, and effectiveness of our communications, detailed in our Privacy Policy. By continuing to use this site, or by clicking "Agree," you consent to the use of cookies.

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ Settings

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น (Necessary Cookies)
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้ - Session Cookies Administered by: Us Purpose: These Cookies are essential to provide You with services available through the Website and to enable You to use some of its features. They help to authenticate users and prevent fraudulent use of user accounts. Without these Cookies, the services that You have asked for cannot be provided, and We only use these Cookies to provide You with those services.

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์ (Analytical Cookies)

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้ - Persistent Cookies Administered by: Us Purpose: These Cookies allow us to remember choices You make when You use the Website, such as remembering your login details or language preference. The purpose of these Cookies is to provide You with a more personal experience and to avoid You having to re-enter your preferences every time You use the Website.

Save